วันพฤหัสบดีที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2553

1. http://deltaforce.exteen.com/20071029/entry



2. http://www.vcharkarn.com/vcafe/82047



3. http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%81%E0%B8%A1%E0%B9%88%E0%B9%80%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B9%87%E0%B8%81



4. http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B9%87%E0%B8%81+



5.http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%96%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%AB%E0%B8%B4%E0%B8%99



6.http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9C%E0%B8%87%E0%B8%96%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%99



7.http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%84%E0%B8%9F



8.http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AB%E0%B8%B4%E0%B8%99



9.http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B8%AD
1. http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9E%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%84%E0%B8%A5%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%99






2. http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%8A%E0%B8%B7%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B9%80%E0%B8%9E%E0%B8%A5%E0%B8%B4%E0%B8%87%E0%B8%8A%E0%B8%B5%E0%B8%A7%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E






3.http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A1%E0%B8%A7%E0%B8%A5%E0%B8%8A%E0%B8%B5%E0%B8%A7%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E3






4http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B8%9E%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B9%83%E0%B8%95%E0%B9%89%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A0%E0%B8%9E&action=edit&redlink=1






5.http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9E%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B3






6.http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9E%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B9%81%E0%B8%AA%E0%B8%87%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%97%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%A2%E0%B9%8C






http://www.blogger.com/goog_1423794945






7.http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9E%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%A5%E0%B8%A1






8.http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9E%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B9%84%E0%B8%9F%E0%B8%9






9.http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9E%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%84%E0%B8%A5%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%A3%E0%B9%8C






10.http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9E%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%81%E0%B8%A5






11.http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9E%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%88%E0%B8%A5%E0%B8%99%E0%B9%8C






12.http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9E%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%99

o-net52






ครีเอทีฟ

http://creativecommons.org/choose/results-one?license_code=by-nc-sa&jurisdiction=th&version=3.0&lang=th

เว็บไซต์ กัมมันตรังสี นิวเคลียร์ และคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

กัมมันตรังสีและนิวเคลียร์
1. http://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/193/Test/index7.htm
2. http://www.atom.rmutphysics.com/charud/oldnews/0/286/2/2/test/test9/t1.html
3. http://203.158.100.100/charud/scibook/nuclearphysics/nuclearchoice/19-3-3.html
4. http://www.absorn.ac.th/e-learning/ebook/parichad/t1.html


คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
1. http://203.158.100.139/CHARUD/scibook/electromagnetic%20wave1/EM%20choice/5-2-2.html
2. http://school.obec.go.th/science_wp/A_light/test1.htm
3. http://www.rmutphysics.com/CHARUD/scibook/electromagnetic%20wave1/EM%20choice/5-1-1.html
4. http://www.rmutphysics.com/charud/entrance/physics2/electromagnetic/index3.html
5. http://www.rmutphysics.com/charud/entrance/physics2/electromagnetic/index4.html
6. http://www.bangkapi.ac.th/MediaOnLine/WeerawanMD/main3.html
7. http://202.129.0.134/courses/531/51scM5-TPs030501.htm

นิวเคลียส

นิวเคลียส


นิวเคลียส (อังกฤษ : nucleus) มีความหมายว่า ใจกลาง หรือส่วนที่อยู่ตรงกลาง โดยอาจมีความหมายถึงสิ่งต่อไปนี้ โดยคำว่า นิวเคลียส (Nucleus) เป็นคำศัพท์ ภาษาละตินใหม่ (New Latin) มาจากคำศัพท์เดิม nux หมายถึง ลูกไม้ขนาดเล็กที่มีเปลือกแข็ง (nut)

นิวเคลียสอะตอม (atomic nucleus) หมายถึง กลุ่มของโปรตอนและนิวตรอน ในใจกลางของอะตอม ที่มีประจุบวกและมวลของอะตอม
นิวเคลียสเซลล์ (cell nucleus) หมายถึง ออร์แกเนลล์ (membrane-bound subcellular organelle) ที่พบในยูแคริโอต (eukaryotes) ซึ่งเห็นได้เมื่อมองผ่านกล้องจุลทรรศน์ ในเบื้องต้นจะมีโครโมโซมของเซลล์นั้นๆ
นิวเคลียส (ระบบประสาท) หมายถึง โครงสร้างระบบประสาทส่วนกลาง ที่มีองค์ประกอบหลัก คือสสารสีเทา ที่เป็นสื่อสัญญาณไฟฟ้าภายวนระบบย่อยหนึ่งๆ
นิวเคลียสดาวหาง (comet nucleus) หมายถึง แกนแข็งในใจกลางของดาวหาง
นิวเคลียสดาราจักร (galaxy nucleus) หมายถึงพื้นที่ใจกลางของดาราจักร

อนุภาคแอลฟา

อนุภาคแอลฟา
อนุภาคแอลฟา หรือ รังสีแอลฟา (เขียนแทนด้วยอักษรกรีก แอลฟา α) คืออนุภาคที่ประกอบด้วยโปรตอน 2 ตัวและนิวตรอน 2 ตัว เหมือนกับนิวเคลียสของอะตอมของธาตุฮีเลียม (He) จึงสามารถเขียนสัญลักษณ์ได้อีกอย่างหนึ่งเป็น หรือ อนุภาคแอลฟาหนึ่งอนุภาคมีมวล 6.644656×10−27 กิโลกรัม หรือเทียบเท่ากับพลังงาน 3.72738 จิกะอิเล็กตรอนโวลต์ (GeV) มีประจุเป็น +2e โดยที่ e คือความจุไฟฟ้าของอิเล็กตรอนซึ่งมีค่าเท่ากับ 1.602176462×10−19 คูลอมบ์
อนุภาคแอลฟามักเกิดจากการสลายของอะตอมของธาตุกัมมันตรังสี เช่นยูเรเนียม (U) หรือเรเดียม (Ra) ด้วยกระบวนการที่รู้จักกันในชื่อการสลายให้อนุภาคแอลฟา (alpha decay) เมื่ออนุภาคแอลฟาถูกปลดปล่อยออกจากนิวเคลียส มวลอะตอมของธาตุกัมมันตรังสีจะลดลงประมาณ 4.0015 u เนื่องจากการสูญเสียทั้งโปรตอนและนิวตรอน และเลขอะตอมจะลดลง 2 ทำให้อะตอมกลายเป็นธาตุใหม่ ดังตัวอย่างการสลายให้อนุภาคแอลฟาของยูเรเนียม จะได้ธาตุใหม่เป็นทอเรียม (Th)
สมบัติของแอลฟา
1.มีประจุไฟฟ้า +2
2.มีมวลประมาณ 4 u
3.รังสีแอลฟาสามารถทำให้ตัวกลางที่รังสีผ่านแตกตัวเป็นไอออนได้ดี
4.รังสีแอลฟามีอำนาจทะลุทะลวงต่ำมาก สามารถวิ่งผ่านอากาศได้ประมาณ 3-5 cm เพราะเมื่อรังสีแอลฟาวิ่งผ่านตัวกลาง สามารถทำให้ตัวกลางนั้นแตกตัวเป็นไอออนได้ดี ทำให้เสียพลังงานอย่างรวดเร็ว
การใช้งาน
ประโยชน์ของรังสีแอลฟามีเช่น การนำรังสีแอลฟามาใช้สร้างเป็นเครื่องมือวัดควัน

อันตรายจากรังสีแอลฟา กรณีที่เรากินอาหารที่มีรีงสีแอลฟาเข้าไปเมื่อรังสีแอลฟาเข้าสู่ร่างกายแล้ว จะไม่ทะลุทะลวงจึงเป็นอันตรายต่อเชลล์ในร่ายกาย ส่วนอันตรายจากการแผ่รังสีโดยตรงอาจไม่เป็นอันตรายมากเท่ากับรังสีชนิดอื่น

หลักการป้องกันรังสีอัลฟา
สามารถทำตามข้อกำหนดทั่วไปในการป้องกันรังสี ซึ่งมีอยู่ 3 ข้อดังต่อไปนี้

1.ใช้เวลาในการอยู่ใกล้รังสีให้น้อยที่สุด แต่ก็ต้องสามารถปฏิบัติงานได้ด้วย
2.ใช้วัตถุที่เหมาะสมในการกำบังรังสี
3.ควรอยู่ให้ห่างรังสีให้มากที่สุด แต่ต้องสามารถปฏิบัติงานได้
หมายเหตุ : การป้องกันรังสีแอลฟาใช้กระดาษที่หนาหน่อยก็กั้นรังสีแอลฟาได้ แต่ก็ต้องระวังเพราะรังสีทุกชนิดจะเป็นอันตรายหมดขึ้นอยู่กับปริมาณรังสีที่ได้รับว่าน้อยหรือมาก